dot dot
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
 สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)
ภูมิพโลภิกขุ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตยสมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ  สยามมกุฎราชกุมาร
dot
ประมวลภาพกิจกรรม
dot
bulletภาพ งานก่อสร้าง
bulletภาพ งานสร้างอาคาร
bulletสงเคราะห์โรงเรียน
bulletคนปลูกป่าพัฒนาอาราม
bulletอัลบั้มรวมภาพ
bulletทำเนียบวัด
bulletภาพเก่า เล่าใหม่
bulletภาพเก่า เล่าอดีต
bulletแปลนการก่อสร้าง
bulletวัดไทยเชตวันฯ ปี๒๕๕๕
bulletงานกฐินวัดบุพพาราม
bulletอาคาร “อนาถบิณฑิกเศรษฐี”
bulletงานกฐินพระราชทาน ปี 55
bulletงานกฐินพระราชทาน ปี 56
bulletทอดผ้ากฐินสามัคคี ๒๕๖๐
dot
พระสูตรที่ทรงสอนที่เชตวัน
dot
bulletโปฏฐปาทสูตร
bulletมหาปทานสูตร
bulletลักขณสูตร
bulletธชัคคสูตร


เฟสบุ๊ควัดไทยเชตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี
วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้พระพุทธเจ้า
วัดไทยลุมพินี ราชอาณาจักรเนปาล
วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย



This Column Intro


นครสาวัตถีarticle

นครสาวัตถีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุบันได้แก่ บริเวณซากกองอิฐ มูลดิน ก้อนหิน เรียงตั้งในลักษณะเป็นเมืองเก่า ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า สาเหต-มาเหต หรือ สาเหฐ-มาเหฐ (Saheih–Maheih) ในเขตจังหวัดบาห์ไรจ์ (Bahraich) ตั้งอยู่ห่างจากสถานีโคณฑา (Gonda) ประมาณ ๕๙ กม. จากการขุดค้นสำรวจซากโบราณสถานของ เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม ทั้งนี้ที่เรียกว่า "มาเหต" ได้แก่ ตัวเมืองสาวัตถี และเรียก "สาเหต" ได้แก่ พระเชตวันมหาวิหาร โดยอาศัยศิลาจารึกที่จารึกว่า ที่พระพุทธรูปองค์ที่ค้นพบ ณ ที่ตั้งของเมืองนี้ อยู่ทางด้านใต้ ห่างจากกำแพงเมืองประมาณ ๑ กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๘๐ ไร่ (๓๒ เอเคอร์) แต่ชื่อ "สาเหต-มาเหต" นั้นเรียกกันน้อยมาก และที่เรียกขานในภาษาสันสกฤตว่า "ศราวัสตี" (Srawasti) ชื่อบาลีที่เราใช้กันคือ "สาวัตถี" นั่นเอง

พระเชตวัน มหาวิหารarticle

โบราณสถานภายในบริเวณพระเชตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี มีอยู่มากมาย ดังเช่น มูลคันธกุฎี สถานที่ประทับของพระพุทธองค์ ทรงแสดงธรรมโปรดหมู่เทวดาและมนุษย์ ณ ที่แห่งนี้ พระราชาปเสนทิโกศล และอนาถบิณฑิกเศรษฐี และเทวดาผู้มีศักดิ์ใหญ่ ต่างมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าที่มูลคันธกุฎี พระพุทธองค์ประทับนานถึง ๑๙ พรรษา มีพระสาวกองค์สำคัญมาสนองงาน พระเชตวันจึงเป็นศูนย์กลางเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดในครั้งพุทธกาล

หน้า 1/1
1
[Go to top]



Copyright © 2019 สงวนลิขสิทธิ์ภาพและบทความที่จัดทำขึ้นโดยเว็บไซต์
ติดต่อ วัดไทยเชตวันมหาวิหาร
Wat Thai Chetavan Mahavihar
Sravasti - Baharaich Road , Vill.Ghughulpur , P.O. Ghughulpur Distt. Balrampur , (U.P.) INDIA. Pin code 271201
โทรศัพท์ : เบอร์เจ้าอาวาส (อินเดีย) +919935030696 , (ไทย) 0680395005
โทรศัพท์ : กองงานเลขาฯวัด (อินเดีย) +91 9554 647437
Email : cetavan939@gmail.com
Line ID: @watthai939